วันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2559(เรียนชดเชย)
บรรยากาศการเรียนการสอน
วันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอน อาจารย์ก็ได้เอาเอกสารให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มเพื่อที่จะให้แต่ล่ะกลุ่มจัดทำแผนการสอนของกลุ่มตัวเองขึ้นมาตามแบบฟอร์มที่ได้ให้ไปโดยที่อาจารย์นำเอกสารข้อมูลขึ้นโปรเจ๊คเตอร์แล้วอธิบายให้ฟังก่อน จากนั้นนักศึกษาจึงได้ลงมือทำแผนของกลุ่มตัวเองให้เสร็จในคาบเรียน
เรื่อง กล้วย กล้วย
แนวคิด กล้วยเป็นพืชล้มลุก มีประโยชน์มากมาย ลักษณะรูปทรงของกล้วยนั้นมีแตกต่างกันไป
ประสบการณ์สำคัญ
พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
- การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
- การทรงตัว
ด้านอารมณ์
- ชื่นชมและสนใจ
- การเล่นอย่างสนุกสนาน
ด้านสังคม
- การแก้ไขปัญหาในการทำกิจกรรม
- พูดคุยสนทนากับเพื่อน
ด้านสติปัญญา
- การใช้ภาษา
- การคิดวิเคราะห์
สาระที่ควรเรียนรู้
- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเอง
- เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
- ธรรมชาติรอบตัว
- สิ่งต่างๆรอบตัว
การบูรณาการรายวิชา
- คณิตศาสตร์
- ภาษา
- ศิลปะ
- สังคม
-พละศึกษา
ทักษะที่ได้
1.ทักษะการคิด
2.ทักษะการใช้ภาษา
3.ทักษะการฟัง
4.ทักษะการโต้ตอบอย่างมีเหตุผล
5.ทักษะการแสดงความคิดเห็น
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำเอาความรู้เกี่ยวกับการสอนโดยการใช้แผนการสอนไปใช้จัดประสบการณ์กิจกรรม
ให้กับเด็กเพื่อที่จะปรับใช้กับการสอนโดยคำนึงถึงพัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้านคือ ด้านร่างกาย
ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา จะต้องวางแผนเป็นขั้นตอนก่อนที่จะนำไปใช้กับสถานการณ์จริง
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาและแต่งกายสุภาพเรียบร้อยและคอยถามนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเรียนหากไม่เข้าใจในการเรียนการสอนและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
วันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 20 เมษายน 2559
บรรยากาศการเรียนการสอน
อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มโชว์หนังสือนิทานให้ดู
จากนั้นก็ได้ให้แต่ล่ะกลุ่มออกมานำเสนองานนิทานหน้าห้อง
กลุ่มที่ 1 นิทานเรื่อง กล้วยน้อยช่างคิด
กลุ่มที่ 2 นิทานเรื่อง หนูจินสอนเพื่อน
กลุ่มที่ 3 นิทานเรื่อง ประโยชน์ของผลไม้
กลุ่มที่ 4 นิทานเรื่อง หมีน้อยกับรถคู่ใจ
การนำไปประยุกต์ใช้
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหานิทานของแต่ล่ะกลุ่มแต่ละหน่วย
การเขียนแผนการสอนของแต่หน่วยที่มีหัวข้อบางหัวข้อแตกต่างกันไปตามลักษณะของแต่ล่ะหน่วย
สามารถนำไปใช้สอนในการออกไปเป็นครูในอนาคตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ทักษะที่ได้รับ
- การนำนิทานมาเชื่อมกับคณิตศาสตร์
- การออกแบบนิทานของแต่กลุ่ม
- วิธีการนำเสนองานของแต่ล่ะกลุ่ม
- การพูดและอริยาบทของแต่ล่ะคน
- เนื้อหาและสาระต่างๆจากนิทานของกลุ่มเพื่อนๆ
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์มาสอนตรงตามเวลาและแต่งกายสุภาพอีกทั้งยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ถาม
เกี่ยวกับการเรียนการสอน
วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 30 มีนาคม 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
มีการเรียนการสอนตามปกติ
อาจารย์ก็ให้แต่ล่ะกลุ่มออกมานำเสนอแผนการสอน
แผนการสอนกลุ่มดิฉันนะคะ คือ เรื่องกล้วย
2.เด็กรู้จักจัดหมวดหมู่ของกล้วยได้
1.ครูเริ่มด้วยเพลงและถามเด็กว่าในเพลง ทรงกล้วยมีลักษณะอะไรบ้าง
ขั้นสอน
2.นำกล้วยออกมาให้เด็กดูที่ล่ะ 1 ชนิดพร้อมให้เด็กสังเกต
3.ครูและเด็กร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะของกล้วย
ขั้นสรุป
4.ครูและเด็กร่วมกันสรุประหว่างกล้วยหอมและกล้วยไข่
-กล้วยไข่จำนวน 1 หวี
-ชาร์เพลง ทรงกล้วย
แผนการสอนกลุ่มดิฉันนะคะ คือ เรื่องกล้วย
วัตถประสงค์
1.เด็กรู้จักแยกแยะส่วนประกอบของกล้วย2.เด็กรู้จักจัดหมวดหมู่ของกล้วยได้
การดำเนินการ
ขั้นนำ1.ครูเริ่มด้วยเพลงและถามเด็กว่าในเพลง ทรงกล้วยมีลักษณะอะไรบ้าง
ขั้นสอน
2.นำกล้วยออกมาให้เด็กดูที่ล่ะ 1 ชนิดพร้อมให้เด็กสังเกต
3.ครูและเด็กร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะของกล้วย
ขั้นสรุป
4.ครูและเด็กร่วมกันสรุประหว่างกล้วยหอมและกล้วยไข่
สื่อ
-กล้วยหอมจำนวน 3 ผล-กล้วยไข่จำนวน 1 หวี
-ชาร์เพลง ทรงกล้วย
เพลง ทรงกล้วย
กล้วยนั้นมีสีเหลือง ในเปลือกมีเนื้อสีขาว
รูปทรงผลรีกลมยาว หวานหอมอร่อนนะเธอ
กลุ่มที่ 1 หน่วยยานพาหนะ
กลุ่มที่ 2 หน่วยของเล่นของใช้
กลุ่มที่ 3 หน่วยผลไม้
กลุ่มที่ 4 หน่วยกล้วย
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้สอนกับเด็กๆตามโรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์เด็กก็ได้ค่ะ
อีกทั้งยังเป็นการจัดประสบการณ์ต่างๆเพิ่มเติมให้กับเด็กได้ในอนาคตข้างหน้าต่อไป
ทักษะที่ได้รับ
- การคิด
-การคำนวณ
-การวิเคราะห์
-การสังเกต
-การประเมิน
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์มาสอนตามเวลาการเรียน เปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนถามทุกครั้งที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
และยังมการแนะแนวเพิ่มเติมให้กับนักศึกษาทุกคนด้วยอีกค่ะ
วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 23 มีนาคม 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
มีการเรียนตามปกติและนักศึกษาก็ช่วยกันหาห้องเรียนเพื่อจะเข้าเรียนกัน ห้องเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์มีแต่โปรเจ๊คเตอร์จึงไม่ค่อยสะดวกในการเรียนเท่าไหร่ค่ะวันนี้ก็เริ่มต้นด้วยการให้เพื่อนที่เหลือออกมารายงานในหัวข้อของตัวเองที่ได้รับ
หลังจากที่เพื่อนรายงานกันเสร็จอาจารย์จึงได้ให้นักศึกษาจับกลุ่มของตนเอง
พร้อมทั้งเขียนแผนการสอนทั้ง 5 วัน แล้วต้องแบ่งให้คนล่ะแผนตามหัวข้อที่ได้รับ
การเขียนแผนมีหัวข้อดังนี้
วันจันทร์ ประเภทหรือชนิด
วันอังคาร ลักษณะ
วันพุธ การถนอม/การดูแลรักษา
วันพฤหัสบดี ประโยชน์
วันศุกร์ โทษ/ข้อควรระวัง
ทักษะที่ได้รับ
1.การคิดวิเคราะห์
2.การสังเกต
3.การเรียนรู้จากการประเมิน
4.ความกล้าแสดงออก
5.การเสนอความคิดเห็น
การนำมาประยุกต์ใช้
ให้เด็กได้ฝึกการคิดกระบวนการต่างๆจากคณิตศาสตร์เพื่อที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
และยังเป็นแนวทางในการนำไปสอนให้กับเด็กปฐมวัย
ปะเมินครูผู้สอน
อาจารย์แต่งกายเรียบร้อยและเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นได้พร้อมทั้งมีการพูดคุยถามและตอบ
วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 9 มีนาคม 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
อาจารย์ได้พูดคุยถามถึงที่นักศึกษาไปดูงานที่โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์เกี่ยวกับการสอนการจัดกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนและบรรยากาศกาเรียนการสอนว่าเขาใช้อะไรสอน สอนแบบไหน ใช้สื่ออย่างไร การสอนของทางโรงเรียนก็จะมีแบบวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และการสอนแบบโปรเจ็คแอปโพส ทักษะทางคณิตศาสตร์การจัดกิจกรรมและมาตราฐานการเรียนรู้ทั้ง 6 สาระ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หลังจากพูดคุยไถ่ถามเสร็จอาจารย์จึงได้ให้ทุกคน แตะไหล่ ยกแขน กางเเขน เป็นการสอนของอาจารย์ในสาระที่ 4 พีชคณิต
532 537 53 1375
ลด2 เพิ่ม2 เพิ่ม2 ลด2
หลังจากนั้นอาจารย์จึงได้แกกระดาษเอสี่ให้กับนักศึกษาทุกคนทำมายแมบและให้คิดหัวข้อสาระที่ควรเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
- ธรรมชาติรอบตัวเด็ก
- บุคคลและสถานที่
- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
หนูเอาเรื่อง โรงเรียนของฉัน
ความรู้ที่ได้รับ
1. การฟัง
2. การคิด
3. การจำ
4. การแก้ปัญหา
5. การออกแบบ
การนำมาประยุกต์ใช้
ออกแบบการสอนการเรียนของเด็กและใช้ให้ถูกวิธี
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์พูดและสอนละเอียดให้ความรู้แน่นและข้อคิดต่างๆมากมาย
วันพุธที่ 2 มีนาคม 2559
ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์
ความรู้ที่ได้รับจากการไปดูงาน
ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมต่างๆให้กับเด็กๆและมีมุมต่างๆภายในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมให้เด็กๆมีการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกนอกเรียนโดยให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
อีกทั้งยังมีแนวทางการสอน สื่อต่างๆทางทักษะคณิตศาสตร์
การสอนแบบโครงการ Project Approach
โครงสร้าง
1. การอภิปราย
2. การทำงานภาคสนาม
3. การนำเสนอประสบการณ์
4. การสืบค้น
5. การจัดแสดง
สาระและมาตราฐานการเรียนรู้มี 6 สาระ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สื่อและกิจกรรมทางคณิตศาสตร์
การจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ทำให้เราได้เห็นถึงการเรียนรู้ของเด็กสภาพแวดล้อมต่างๆรอบตัวเด็ก
เด็กจะได้รับทักษะทั้ง 6 สาระจากที่ครูจัดกิจกรรมให้
วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559
บรรยากาศในห้องเรียนและการเรียนการสอน
อากาศค่อนข้างมืดครึ้มเหมือนฝนกำลังจะตกทำให้มีอากาศดีและน่านอนค่ะ และอาจารย์ก็ได้ไลน์มาบอกว่าจะเข้าช้าหน่อยเพราะจะไปเปิดงานหลังจากนั้นได้รออาจารย์ สักพักอาจารย์จึงได้นำอุปกรณ์การเรียนคือดินน้ำมัน อาจารย์บอกให้นักศึกษาหยิบดินน้ำมันไปไว้คนล่ะก้อนออกแบบรูปทรงต่างๆของตัวเองและก็นำไม้ที่ตัดมาประกอบเป็นรูปดังภาพต่อไปนี้ค่ะ
รูปที่ 1 รูปสามเหลี่ยม
รูปที่ 2 คือรูปสี่เหลี่ยมค่ะ
รูปที่ 3 คือรูปสี่เหลี่ยมตามจินตนาการของตัวเองค่ะ
กิจกรรมนี้ฝึกให้เราได้รู้จักการสังเกตการวางแผนก่อนลงมือปฎิบัติ การคิดรอบคอบเพื่อให้งานออกมาตรงตามเป้าหมายที่เราวางไว้
ความรู้ที่ได้รับ
- ฝึกการสังเกต
-การคิดวิเคราะห์
- การวางแผนก่อนลงมือ
การนำไปประยุกต์ใช้
- สอนการวางแผนการทำงาน
- สามารถนำไปทำกิจกรรมเกมคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน
- ให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งประดิษฐ์ วัสดุ
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ตอบคำถามและให้ความรู้อย่างมากมายและมีคุณธรรมจริยธรรมในการสอนค่ะ
วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้เพื่อนมาไม่มากนัก เงียบเหงาง่วงนอนการเรียนการสอน
เข้าห้องเรียนตามปกติสักพักอาจารย์เข้าห้องมาจึงได้ให้นักศึกษาแจกกระดาษคนล่ะแผ่นตีเป็น 4 เหลี่ยมกว้างช่องล่ะเซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร อีกช่อง ยาว 3 เซนติเมตร ความกว้าง 2 เซนติเมตร ได้ให้ทุกคนแรเงาเป็นรูปและแรเงาเป็นรูปต่างๆกันแล้วแต่เราจะออกแบบ สักพักอาจารย์จึงได้ให้นักศึกษาดูวิดีโอโทรทัศน์ครูและสรุปให้ครูฟัง หลังจากนั้นเพื่อนก็ออกมาพรีเซ็นงานแต่ยังไม่ครบถ้วน อาจารย์จึงได้ให้ไปเอามาเพิ่มเติมความรู้ที่ได้รับ
- ฝึกการสังเกต- คิดตามแบบแผน
- กระบวนการจินตนาการ
การนำไปประยุกต์ใช้
- คิดต่อยอด- ฝึกทักษะในชีวิต
- การคิดกับชีวิตประจำวัน
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์ปล่อยให้เด็กได้มีเวลาในการคิดโต้แย้งกับการเรียนเสมอและแต่งกายเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูกศิษย์ได้ดูเป็นแบบอย่างวันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 3 กพ 2559
การเรียนการสอน
เมื่อเข้าห้องเรียนมาครบทุกคน อาจารย์ได้แจกกระดาษให้ไปเขียนชื่อตัวเองระหว่างนั้นอาจารย์จึงได้เขียนตารางการตื่นมาเรียน ใครเขียนชื่อเสร็จแล้วก็นำมาติดตรงช่องที่ตัวเองตื่นมาเรียนหลังจากนั้นทุกคนก็นับจำนวนการตื่นมาเรียนว่าช่องไหนมีมากกว่าช่องไหน อาจารย์จึงได้บอกว่าทุกอย่างในชีวิตล้วนเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ทั้งนั้น การนับจำนวน เวลา เป็นการบอกค่าของเรื่องนั้นๆ การบวก ลบ และการเรียนรู้กับการแบ่งกลุ่ม การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิ เด็กเรียนรู้เรื่องเวลา จำนวน การนับ การใช้เลขฮินดูอารบิกกำกับให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเลขก่อนจึงจะเขียนเลขได้
พัฒนาการ
- ความสามารถ
- สิ่งที่เด็กทำได้ตามช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงตามขั้นตอน
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก คือ ต้องจำและทำซ้ำๆ
- เด็กบางคนจะเรียนรู้แตกต่างกัน
และอาจารย์จึงได้ให้นักศึกษาทุกคนทบทวนเพลงและร้องไปพร้อมๆกัน
- เพลง จับปู
-เพลง กลอนหนึ่ง สอง
-เพลง ลูกแมวสิบตัว
-เพลง แม่ไก่ออกไข่
-เพลง บวก ลบ
-เพลง นับนิ้วมือ
-เพลง นกกระจิบ
ความรู้ที่ได้รับ
- ทักษะการบวก ลบ
- การคาดคะเนเวลา
- การคิดหาเหตุผล
การนำไปประยุกต์ใช้
- นำไปสอนเด็กในกิจกรรมเกมการศึกษาต่างๆ
- ฝึกพัฒนาทางความคิดซ้ำๆ
- เรียนรู้จากในชีวิตประจำวัน
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นทุกครั้งและตั้งใจสอนอย่างเต็มที่ค่ะ
การเรียนการสอน
เมื่อเข้าห้องเรียนมาครบทุกคน อาจารย์ได้แจกกระดาษให้ไปเขียนชื่อตัวเองระหว่างนั้นอาจารย์จึงได้เขียนตารางการตื่นมาเรียน ใครเขียนชื่อเสร็จแล้วก็นำมาติดตรงช่องที่ตัวเองตื่นมาเรียนหลังจากนั้นทุกคนก็นับจำนวนการตื่นมาเรียนว่าช่องไหนมีมากกว่าช่องไหน อาจารย์จึงได้บอกว่าทุกอย่างในชีวิตล้วนเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ทั้งนั้น การนับจำนวน เวลา เป็นการบอกค่าของเรื่องนั้นๆ การบวก ลบ และการเรียนรู้กับการแบ่งกลุ่ม การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิ เด็กเรียนรู้เรื่องเวลา จำนวน การนับ การใช้เลขฮินดูอารบิกกำกับให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเลขก่อนจึงจะเขียนเลขได้
พัฒนาการ
- ความสามารถ
- สิ่งที่เด็กทำได้ตามช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงตามขั้นตอน
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก คือ ต้องจำและทำซ้ำๆ
- เด็กบางคนจะเรียนรู้แตกต่างกัน
และอาจารย์จึงได้ให้นักศึกษาทุกคนทบทวนเพลงและร้องไปพร้อมๆกัน
- เพลง จับปู
-เพลง กลอนหนึ่ง สอง
-เพลง ลูกแมวสิบตัว
-เพลง แม่ไก่ออกไข่
-เพลง บวก ลบ
-เพลง นับนิ้วมือ
-เพลง นกกระจิบ
ความรู้ที่ได้รับ
- ทักษะการบวก ลบ
- การคาดคะเนเวลา
- การคิดหาเหตุผล
การนำไปประยุกต์ใช้
- นำไปสอนเด็กในกิจกรรมเกมการศึกษาต่างๆ
- ฝึกพัฒนาทางความคิดซ้ำๆ
- เรียนรู้จากในชีวิตประจำวัน
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นทุกครั้งและตั้งใจสอนอย่างเต็มที่ค่ะ
วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 27 มกราคม 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
อากาศหนาวเย็นจับใจทำให้อยากนอนมากเลยค่ะ เสียงพูดคุยของอาจารย์ก็ชวนกล่อมให้หลับ
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้ทุกคนคนล่ะแผ่นแล้วให้เขียนชื่อตัวเองลงไปพอเขียนเสร็จก็เอาไปแปะที่หน้ากระดานระหว่างที่เขียนชื่ออาจารย์จึงได้เขียนตีตารางการมาเรียนของนักเรียน แล้วถ้าใครเขียนเสร็จก็นำเอากระดาษที่เขียนชื่อตัวเองไปแปะหน้าห้องในช่องมาเรียนแล้วให้แต่ล่ะคนนับดูว่าเพื่อนมาเรียนกี่คน
เป็นวิธีการสอนการนับเลขนับจำนวน
การนับ คือ การเพิ่มขึ้นทีล่ะหนึ่ง
จำนวนเต็ม แยกออกเป็น 2 ส่วน
การรวมจำนวนนักเรียนควรใช้ตัวเลขฮินดูอารบิกกำกับจำนวนการมาของเด็ก
การจัดกิจกรรมให้เด็กควรคำนึงถึงวัสดุเหลือใช้ที่จะนำมาทำสื่อให้เเก่เด็ก
หลังจากทำกิจกรรมในห้องเรียนเสร็จก็มีเพลงมาให้ฝึกร้อง
เพลง สวัสดียามเช้า
เพลง สวัสดีคุณครู
เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน
เพลง เข้าแถว
เพลง จัดแถว
เพลง ซ้าย - ขวา
เพลง ขวดห้าใบ
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข ขนาด รูปร่าง ที่ตั้ง ค่าของเงิน ความเร็ว อุณหภูมิ
ความรู้ที่ได้รับ
- พื้นฐานการบวก ลบ
- การลบของจำนวน
- การแทนรูปทรงต่าง
การนำไปประยุกต์ใช้
- การแบ่งกลุ่ม
- คุณธรรมจริยธรรม
- การเปรียบเทียบของสิ่งต่างๆ
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์พูดคุยสอนละเอียดมากค่ะ
บรรยากาศในห้องเรียน
อากาศหนาวเย็นจับใจทำให้อยากนอนมากเลยค่ะ เสียงพูดคุยของอาจารย์ก็ชวนกล่อมให้หลับ
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้ทุกคนคนล่ะแผ่นแล้วให้เขียนชื่อตัวเองลงไปพอเขียนเสร็จก็เอาไปแปะที่หน้ากระดานระหว่างที่เขียนชื่ออาจารย์จึงได้เขียนตีตารางการมาเรียนของนักเรียน แล้วถ้าใครเขียนเสร็จก็นำเอากระดาษที่เขียนชื่อตัวเองไปแปะหน้าห้องในช่องมาเรียนแล้วให้แต่ล่ะคนนับดูว่าเพื่อนมาเรียนกี่คน
เป็นวิธีการสอนการนับเลขนับจำนวน
การนับ คือ การเพิ่มขึ้นทีล่ะหนึ่ง
จำนวนเต็ม แยกออกเป็น 2 ส่วน
การรวมจำนวนนักเรียนควรใช้ตัวเลขฮินดูอารบิกกำกับจำนวนการมาของเด็ก
การจัดกิจกรรมให้เด็กควรคำนึงถึงวัสดุเหลือใช้ที่จะนำมาทำสื่อให้เเก่เด็ก
หลังจากทำกิจกรรมในห้องเรียนเสร็จก็มีเพลงมาให้ฝึกร้อง
เพลง สวัสดียามเช้า
เพลง สวัสดีคุณครู
เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน
เพลง เข้าแถว
เพลง จัดแถว
เพลง ซ้าย - ขวา
เพลง ขวดห้าใบ
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข ขนาด รูปร่าง ที่ตั้ง ค่าของเงิน ความเร็ว อุณหภูมิ
ความรู้ที่ได้รับ
- พื้นฐานการบวก ลบ
- การลบของจำนวน
- การแทนรูปทรงต่าง
การนำไปประยุกต์ใช้
- การแบ่งกลุ่ม
- คุณธรรมจริยธรรม
- การเปรียบเทียบของสิ่งต่างๆ
ประเมินครูผู้สอน
อาจารย์พูดคุยสอนละเอียดมากค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 20 มกราคม 2559
บรรยากาศในห้องเรียน
เพื่อนๆทุกคนยังมีอาการมึนๆเนื่องมาจากการตื่นเช้าจึงทำให้ง่วงนิดหน่อยค่ะ
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้แต่ล่ะคนหยิบไว้คนล่ะหนึ่งแผ่นแล้วพับเป็นสี่เหลี่ยมให้เท่าๆกันแล้วฉีกออกให้ได้สี่แผ่นเอาไว้ที่ตัวเอง1แผ่นอีก3แผ่นคืนอาจารย์ อาจารย์จึงได้บอกให้เพื่อนๆทุกคนเขียนชื่อ นามสกุล ออกแบบตามที่เราคิดแล้วเอามาแปะที่หน้าห้อง
ทักษะที่ได้รับ
- คิดแก้ปัญหาต่างๆ
- ได้เตรียมความพร้อม
- ออกแบบและคิดสร้างสรรค์
ความรู้ที่ได้รับ
สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จำนวน
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การนำไปประยุกต์ใช้
- มีความรู้ความเข้าใจในแต่ล่ะเนื้อหาสาระ
- มีพื้นฐานการเรียนรู้
- ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
ประเมินผู้สอน
อาจารย์สอนไปด้วยและยิ้มไปด้วยจึงทำให้ไม่เครียดมากนักและสอนให้รู้จักการคิดด้วยการใช้เหตุผล
บรรยากาศในห้องเรียน
เพื่อนๆทุกคนยังมีอาการมึนๆเนื่องมาจากการตื่นเช้าจึงทำให้ง่วงนิดหน่อยค่ะ
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้แต่ล่ะคนหยิบไว้คนล่ะหนึ่งแผ่นแล้วพับเป็นสี่เหลี่ยมให้เท่าๆกันแล้วฉีกออกให้ได้สี่แผ่นเอาไว้ที่ตัวเอง1แผ่นอีก3แผ่นคืนอาจารย์ อาจารย์จึงได้บอกให้เพื่อนๆทุกคนเขียนชื่อ นามสกุล ออกแบบตามที่เราคิดแล้วเอามาแปะที่หน้าห้อง
ทักษะที่ได้รับ
- คิดแก้ปัญหาต่างๆ
- ได้เตรียมความพร้อม
- ออกแบบและคิดสร้างสรรค์
ความรู้ที่ได้รับ
สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จำนวน
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การนำไปประยุกต์ใช้
- มีความรู้ความเข้าใจในแต่ล่ะเนื้อหาสาระ
- มีพื้นฐานการเรียนรู้
- ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
ประเมินผู้สอน
อาจารย์สอนไปด้วยและยิ้มไปด้วยจึงทำให้ไม่เครียดมากนักและสอนให้รู้จักการคิดด้วยการใช้เหตุผล
วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559
วันที่ 13 มกราคม 2559
สรุปวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
ชื่อผู้วิจัย พิจิตรา เกษประดิษฐ์
มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรืวิโรฒ
คณิตศาสตร์มีส่วนช่วยทำให้เป็นคนมีเหตุผล ช่างสังเกต การเปรียบเทียบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้ดีเราควรเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ มีการตั้งสมมุติฐานก่อนและหลัง แล้วทำการทดลอง อีกทั้งยังมีทักษะพื้นฐานของคณิตศาสตร์เป็นองค์ประกอบ ในการส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ควรจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และสื่อต่างๆก็ควรที่จะสังเกตว่า ชิ้นไหมเหมาะกับเด็กอายุเท่าไร
สิ่งที่ตามมา
- ฝึกและเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
- ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
- ปลูกฝังค่านิยม
- ให้เด็กรู้จักใช้เครื่องมือต่างๆ
สรุปวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ
ชื่อผู้วิจัย พิจิตรา เกษประดิษฐ์
มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรืวิโรฒ
คณิตศาสตร์มีส่วนช่วยทำให้เป็นคนมีเหตุผล ช่างสังเกต การเปรียบเทียบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้ดีเราควรเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ มีการตั้งสมมุติฐานก่อนและหลัง แล้วทำการทดลอง อีกทั้งยังมีทักษะพื้นฐานของคณิตศาสตร์เป็นองค์ประกอบ ในการส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ควรจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และสื่อต่างๆก็ควรที่จะสังเกตว่า ชิ้นไหมเหมาะกับเด็กอายุเท่าไร
สิ่งที่ตามมา
- ฝึกและเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
- ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
- ปลูกฝังค่านิยม
- ให้เด็กรู้จักใช้เครื่องมือต่างๆ
วันที่ 13 มกราคม 2559
สรุปบทความ วารสารวิชาการ
เป็นกระบวนการเรียนรู้สร้างสรรค์กระบวนการคิดของเด็กปฐมวัยมีการเสริมทักษะทางการเรียนรู้ต่างๆ การทำสื่อกิจกรรมที่ใช้ในการสอนเพิ่มเติมและจัดงานบูรณาการอย่างเชิงวิชาการสร้างสรรค์เพื่อห้เด็กได้ฝึกการคิดแก้ปัญหากับสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวเองได้ ฝึกทักษะทางภาษาไทย คณิตศาสตร์ วาดรูปต่างๆ เป็นการประเมินผลการเรียนการอ่าน คิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยให้รู้จักคิดเป็นและมีคุณธรรมจริยธรรมเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
สรุปบทความ วารสารวิชาการ
เป็นกระบวนการเรียนรู้สร้างสรรค์กระบวนการคิดของเด็กปฐมวัยมีการเสริมทักษะทางการเรียนรู้ต่างๆ การทำสื่อกิจกรรมที่ใช้ในการสอนเพิ่มเติมและจัดงานบูรณาการอย่างเชิงวิชาการสร้างสรรค์เพื่อห้เด็กได้ฝึกการคิดแก้ปัญหากับสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวเองได้ ฝึกทักษะทางภาษาไทย คณิตศาสตร์ วาดรูปต่างๆ เป็นการประเมินผลการเรียนการอ่าน คิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยให้รู้จักคิดเป็นและมีคุณธรรมจริยธรรมเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2559
วันที่ 13 มกราคม 2559
สรุปวิดีโอ พัฒนาทักษะด้านสมอง เรื่อง มานับเลขกันเถอะ
เป็นเพลงประกอบนิทานภาพสัตว์ใต้ท้องทะเลเพื่อให้เด็กเกิดจินตนาการและได้สังเกตภาพสิ่งมีชีวิตต่างๆและยังเป็นการฝึกความจำในการนับเลขตามจำนวนภาพสัตว์ในวิดีโอที่ได้ชม จัดเป็นการทำสื่อการเรียนการสอนอย่างเช่นว่า ออกแบบภาพตามจินตนาการของเรา ใช้เทคนิคที่มีให้เกิดประโยชน์เพื่อนำมาใช้สอนให้กับเด็กปฐมวัยถือว่าเป็นการฝึกความจำการคิดการอ่านและการสังเกตอีกด้วยค่ะ
สรุปวิดีโอ พัฒนาทักษะด้านสมอง เรื่อง มานับเลขกันเถอะ
เป็นเพลงประกอบนิทานภาพสัตว์ใต้ท้องทะเลเพื่อให้เด็กเกิดจินตนาการและได้สังเกตภาพสิ่งมีชีวิตต่างๆและยังเป็นการฝึกความจำในการนับเลขตามจำนวนภาพสัตว์ในวิดีโอที่ได้ชม จัดเป็นการทำสื่อการเรียนการสอนอย่างเช่นว่า ออกแบบภาพตามจินตนาการของเรา ใช้เทคนิคที่มีให้เกิดประโยชน์เพื่อนำมาใช้สอนให้กับเด็กปฐมวัยถือว่าเป็นการฝึกความจำการคิดการอ่านและการสังเกตอีกด้วยค่ะ
วันที่ 13 มกราคม 2559
การเรียนการสอนในหห้องเรียน
เป็นการเข้าเรียนในสัปดาห์ที่ 2 เมื่อเข้าห้องมาครบทุกคนแล้วสักพักอาจารย์จึงได้เข้ามาสอนแล้วจึงได้บอกให้เพื่อนไปหยิบกระดาษมา เมื่อได้กระดาษแล้วอาจารย์จึงบอกให้เลือกเอาแต่หน้าที่ใช้ได้หน้าหนึ่งเมื่อทุกคนได้กระดาษครบ อาจารย์จึงได้ถามคำถามเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์มีประโยชน์อย่างไรบ้างแล้วเพื่อนๆทุกคนก็ต่างช่วยกันตอบ สักพักจึงได้หัวข้อการทำมายแมปมา คือ
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย แล้วแตกไป 3 หัวข้อ คือ การจัดประสบการณ์ คณิตศาสตร์ เด็กปฐมวัย แล้วให้นักศึกษาทุกคนไปเขียนมาให้เขียนลงในกระดาษที่แจกให้
ทักษะที่ได้รับ
- เรียนรู้ในห้องเรียน
- การคำนวนความแตกต่าง
- พูดโต้แย้ง
ความรู้ที่ได้รับ
- ฝึกการวิเคราะห์
- การสังเกต
- การพูด-ตอบแบบมีเหตุมีผล
การนำไปประยุกต์ใช้
- ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์
- คาดคะเนสิ่งที่อยู่รอบตัว
- คณิตศาสตร์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ประเมินผู้สอน
อาจารย์ได้ให้ข้อคิดของการพูดโต้แย้งการแสดงความคิดเห็นแบบมีเหตุผล และมีแนวทางในการใช้ชีวิตต่างๆค่ะ
การเรียนการสอนในหห้องเรียน
เป็นการเข้าเรียนในสัปดาห์ที่ 2 เมื่อเข้าห้องมาครบทุกคนแล้วสักพักอาจารย์จึงได้เข้ามาสอนแล้วจึงได้บอกให้เพื่อนไปหยิบกระดาษมา เมื่อได้กระดาษแล้วอาจารย์จึงบอกให้เลือกเอาแต่หน้าที่ใช้ได้หน้าหนึ่งเมื่อทุกคนได้กระดาษครบ อาจารย์จึงได้ถามคำถามเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์มีประโยชน์อย่างไรบ้างแล้วเพื่อนๆทุกคนก็ต่างช่วยกันตอบ สักพักจึงได้หัวข้อการทำมายแมปมา คือ
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย แล้วแตกไป 3 หัวข้อ คือ การจัดประสบการณ์ คณิตศาสตร์ เด็กปฐมวัย แล้วให้นักศึกษาทุกคนไปเขียนมาให้เขียนลงในกระดาษที่แจกให้
ทักษะที่ได้รับ
- เรียนรู้ในห้องเรียน
- การคำนวนความแตกต่าง
- พูดโต้แย้ง
ความรู้ที่ได้รับ
- ฝึกการวิเคราะห์
- การสังเกต
- การพูด-ตอบแบบมีเหตุมีผล
การนำไปประยุกต์ใช้
- ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์
- คาดคะเนสิ่งที่อยู่รอบตัว
- คณิตศาสตร์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ประเมินผู้สอน
อาจารย์ได้ให้ข้อคิดของการพูดโต้แย้งการแสดงความคิดเห็นแบบมีเหตุผล และมีแนวทางในการใช้ชีวิตต่างๆค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559
วันที่ 6 มกราคม 2559
การเรียนการสอนในห้องเรียน
เมื่อเข้ามาในห้องเรียน อาจารย์ก็ได้มาพูดคุยคร่าวๆเกี่ยวกับ วิชา การจัดประสบการณ์คณิตสาสตร์เด็กปฐมวัย และก็ได้ให้นักศึกษาไปเอากระดาษที่ห้องพักครูมาแจกเพื่อนในห้อง อาจารย์ได้บอกว่าให้แจกกระดาษ 1 แผ่น 3 คน ทุกคนก็ต่างช่วยกันแจกกระดาษแบ่งๆให้เท่ากันทุกคน แล้วอาจารย์จึงได้ให้เขียนอะไรที่เด่นๆในตัวเพื่อให้อาจารย์ได้สังเกตเห็นบุคลิกภาพของแต่ล่ะคนโดยไม่ต้องเขียนชื่อตัวเอง หลังจากนั้นพอทุกคนเขียนเสร็จก็ส่งให้อาจารย์ อาจารย์จึงได้อ่านที่นักศึกษาเขียนมาส่งของแต่ล่ะคนแล้วทายบุคลิกภาพ เมื่อทายเสร็จครบทุกคนอาจารย์จึงได้บอกการทำแฟ้มงานแต่ให้ทำเป็นบล็อคเพราะประหยัดและงานจะได้ไม่สูญหายสามารถนำกลับมาศึกษาดูได้อีกด้วย จากนั้นอาจารย์จึงให้นักศึกษาทุกคนทำบล็อคส่งด้วยทักษะที่ได้รับ
- ฝึกการคิดวิเคราะห์- การแก้ปัญหาให้เคลียร์
- เรียนรู้จากสิ่งที่ได้รับ
ความรู้ที่ได้รับ
- การคิดการคำนวน- ฝึกสมองให้คิดเยอะๆ
- เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
การนำไปประยุกต์ใช้
- ใช้กับกิจกรรมในการเรียนการสอนได้- แก้ปัญหาต่างๆรอบตัว
- ใช้ในชีวิตประจำวัน
ประเมินผู้สอน
อาจารย์พูดคุยอธิบายได้อย่างเข้าใจมีการถามไถ่นักศึกษาในการเรียนการสอนได้อย่างลึกซึ้งโดยนึกถึงนักศึกษาอยู่ตลอดเลยค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)